1. Home
  2. 3rd Party Product
  3. Docker
  4. Writing Docs for WordPress by Docker

Writing Docs for WordPress by Docker

Table of contents

ไปที่ Create จากนั้นเลือก Instances

ไปที่ Distributions จากนั้นเลือก ubuntu 18.04×64

ไปที่ Marketplace จากนั้นเลือก Docker CE 19.03.8

ไปที่ Machine Type เลือก General

ไปที่ Cloud Firewall เลือก SSH , Http-Https และ Ping

ไปที่ Authentication เลือก Password (อย่างน้อย 8 ตัวอักษร มีตัวพิมพ์เล็ก ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิเศษและตัวเลข) จากนั้นกด Create

จากนั้นไปที่ COMPUTE เลือก Instances เราจะเห็น VM ที่เราสร้างมาเรียบร้อย
ไปที่ Terminal เเล้วพิมพ์

$ ssh nc-user@< external IP >

Install Compose on Linux systems

เราสามารถดู version ของ Docker ได้โดยพิมพ์

$ docker -v

เมื่อมี Docker เรียบร้อยเเล้วจะต้องติดตั้ง Docker Composer เพื่อให้เราสามารถติดตั้ง WordPress ด้วยคำสั่งเดียว

ถ้าหากเราไม่ติดตั้ง Docker Composer เราจะต้องใช้คำสั่ง docker run ตลอดซึ่งจะทำให้เสียเวลามากกว่านำมาแก้ไขปัญหา

Run this command to download the latest version of Docker Compose:

$ sudo curl -L https://github.com/docker/compose/releases/download/1.21.2/docker-compose-$(uname -s)-$(uname -m) -o /usr/local/bin/docker-compose

Apply executable permissions to the binary:

$ sudo chmod 755 /usr/local/bin/docker-compose

Test the installation.

$ docker-compose –version

จากนั้นสร้าง directory และ file ชื่อว่า docker-compose.yml

$ mkdir wptest
$ cd wptest/
$ vim docker-compose.yml

ตั้งค่าไฟล์ docker-compose.yml ตามคำสั่งด้านล่างนี้

wordpress:
image: wordpress
links:
- mariadb:mysql
environment:
- WORDPRESS_DB_PASSWORD=password
ports:
- 80:80
volumes:
- ./html:/var/www/html
mariadb:
image: mariadb
environment:
- MYSQL_ROOT_PASSWORD=password
- MYSQL_DATABASE=wordpress
volumes:
- ./database:/var/lib/mysql

เริ่มติดตั้ง WordPress ด้วย Docker Composer ด้วยคำสั่ง

$ docker-compose up -d

ถ้าติดปัญหา Error starting userland proxy: listen tcp 0.0.0.0:80: bind: address already in use. แสดงว่า port ถูกใช้อยู่นั่นเอง ให้เราพิมพ์ $ sudo netstat -tulpn | grep :80 เราจะเห็นว่ามีโปรเซสกำลังทำงานอยู่ ให้เราพิมพ์ $ sudo service <ชื่อโปรเซส> stop แล้วใช้คำสั่ง $ docker-compose up -d อีกครั้ง

ทดสอบเปิดเว็บไซต์ที่ติดตั้งจาก Docker Composer ด้วยการเปิดเว็บไซต์ด้วย http://< external IP > เราก็จะได้หน้าตาการติดตั้ง WordPress มาเป็นที่เรียบร้อย

Was this article helpful?